Sea Freight (การขนส่งสินค้าทางทะเล)
(Air Freight) หรือสินค้าที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ไม่ใช่สินค้าเร่งรีบ ก็สามารถเลือกส่งสินค้าผ่านทาง (Sea Freight)
ประเภทการบริการของ
Sea Freight
ประเภทการบริการของ Sea Freight
Full Container Load (FCL)
เหมาะสำหรับสินค้าจำนวนมาก
บรรจุเต็มตู้คอนเทนเนอร์ 20 ฟุต หรือ 40 ฟุต
Less than Container Load (LCL)
เหมาะสำหรับสินค้าจำนวนน้อย ไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ แชร์พื้นที่ในตู้กับสินค้าอื่นๆ
เหมาะสำหรับสินค้าจำนวนน้อย ไม่เต็มตู้
คอนเทนเนอร์ แชร์พื้นที่ในตู้กับสินค้าอื่นๆ
Break Bulk
และหนัก หรือรูปร่างแปลก
Ro-Ro (Roll-on Roll-off)
เหมาะสำหรับยานพาหนะ เช่น รถยนต์
รถบรรทุก รถจักรยานยนต์
Reefers
เหมาะสำหรับสินค้าที่ต้องควบคุมอุณหภูมิ เช่น เนื้อสัตว์ ผลไม้
เหมาะสำหรับสินค้าที่ต้องควบคุมอุณหภูมิ
เช่น เนื้อสัตว์ ผลไม้
ขั้นตอนการขนส่งสินค้า
ทางทะเล (Sea Freight)
- 1. การเตรียมสินค้า: เริ่มต้นจากการผลิตและจัดเตรียมสินค้าให้พร้อมสำหรับการขนส่ง
- 2. การจองระวางขนส่ง: ติดต่อบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้า (Freight Forwarder) หรือสายการเดินเรือเพื่อจองระวางขนส่ง
- 3. การจัดเตรียมเอกสาร: เตรียมเอกสารที่จำเป็น เช่น ใบขนสินค้า, ใบ กำกับสินค้า, และใบอนุญาตต่าง ๆ
- 4. การขนส่งไปยังท่าเรือต้นทาง: ขนส่งสินค้าจากสถานที่ผลิตไปยังท่าเรือต้นทาง
- 5. การผ่านพิธีการศุลกากรขาออก: ดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรขาออกในประเทศต้นทาง
- 6. การขนส่งระหว่างประเทศ: สินค้าถูกขนส่งจากท่าเรือต้นทางไปยังท่าเรือปลายทาง
- 7. การผ่านพิธีการศุลกากรขาเข้า: ดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรขาเข้าในประเทศปลายทาง
- 8. การขนส่งไปยังปลายทาง: ขนส่งสินค้าจากท่าเรือปลายทางไปยังสถานที่ของผู้รับสินค้า
- 9. การตรวจสอบและรับสินค้า: ผู้รับสินค้าตรวจสอบสภาพสินค้าและเซ็นรับสินค้า
ต้นทุนต่ำ
เมื่อเทียบกับการขนส่งแบบอื่น ๆ เช่น การขนส่งทางอากาศ เหมาะกับสินค้าที่มีปริมาณมากหรือสินค้าที่มีขนาดใหญ่
บรรทุกสินค้าได้ปริมาณมาก
เรือมีพื้นที่สูงทำให้สามารถรับสินค้าที่มีปริมาตรใหญ่ได้มากขึ้นและมีความสามารถในการขนส่งปริมาณมากในครั้งเดียว
เหมาะสำหรับสินค้าที่ไม่เร่งด่วน
การขนส่งทางทะเลมีความเสถียรมากกว่าการขนส่งทางอากาศในบางกรณี เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่น้อยกว่าที่จะเกิดปัญหา เช่น กีดขวางอากาศ หรือความเสี่ยงจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย
การขนส่งระยะไกล
เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าระยะทางไกล เช่น การขนส่งข้ามมหาสมุทรหรือการขนส่งระหว่างทวีป
ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าระยะทางไกล เช่น การขนส่งข้ามมหาสมุทรหรือการขนส่งระหว่างทวีป
ค่าใช้จ่ายสูง
ค่าขนส่งทางอากาศมีราคาแพงกว่าวิธีอื่นๆ เช่น Sea Freight หรือ Land Freight ทำให้การขนส่งทางอากาศ ไม่เหมาะสำหรับสินค้าที่มีมูลค่าต่ำหรือปริมาณมาก
ข้อจำกัดด้านน้ำหนักและขนาด
บางประเภทของสินค้าต้องมีการจำกัดในเรื่องขนาดหรือน้ำหนักที่สามารถขนส่งทางอากาศได้ นอกจากนี้ การบินยังมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสินค้าที่สามารถขนส่งได้หรือไม่
สภาพอากาศ
การบินอาจได้รับผลกระทบจากสถานการณ์เฉพาะเช่น อากาศไม่ดี การปิดสนามบิน หรือเหตุการณ์ทางการเมือง ที่ส่งผลต่อการเดินทางและการขนส่งสินค้า
ต้นทุนต่ำ
เมื่อเทียบกับการขนส่งแบบอื่น ๆ เช่น การขนส่งทางอากาศ เหมาะกับสินค้าที่มีปริมาณมาก หรือสินค้าที่มีขนาดใหญ่
บรรทุกสินค้าได้ปริมาณมาก
เรือมีพื้นที่สูงทำให้สามารถรับสินค้าที่มีปริมาตรใหญ่ได้มากขึ้น
และมีความสามารถในการขนส่งปริมาณมากในครั้งเดียว
เหมาะสำหรับสินค้าที่ไม่เร่งด่วน
การขนส่งทางทะเลมีความเสถียรมากกว่าการขนส่งทางอากาศในบางกรณี เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่น้อยกว่าที่จะเกิดปัญหา เช่นกีดขวางอากาศ หรือความเสี่ยงจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย
การขนส่งระยะไกล
เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าระยะทางไกล เช่น การขนส่งข้ามมหาสมุทรหรือการขนส่งระหว่างทวีป
ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าระยะทางไกล เช่น การขนส่งข้าม
มหาสมุทรหรือการขนส่งระหว่างทวีป
เวลาในการขนส่ง
Sea freight มักใช้เวลานานกว่าในการขนส่งเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ทางอากาศอาจใช้เวลาหลายสัปดาห์หรือเป็นเดือน ขึ้นอยู่กับระยะทางและเส้นทางการเดินเรือ
ความเสี่ยงจากสภาพอากาศ
การขนส่งทางทะเลอาจต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย เช่น พายุหรืออุบัติเหตุทางเรือ
ระยะเวลา
การผ่านพิธีการศุลกากรอาจมีขั้นตอนที่ซับซ้อนและใช้เวลานาน ทำให้เกิดความล่าช้าในการนำเข้าและส่งออกสินค้า
ความซับซ้อนในการจัดการ
การจัดการในด้านการขนส่งทางทะเลอาจซับซ้อนและมีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากต้องใช้เอกสารและข้อกำหนดในการขนส่งที่ต่างกันขึ้นอยู่กับประเทศและทวีปที่ส่งมอบ
เหตุผลที่ควรใช้การขนส่ง
สินค้าทางเรือ
- 1. Bill of Lading (B/L): ใบขนสินค้า
- 2. Commercial Invoice: ใบแจ้งรายละเอียดสินค้า
- 3. Packing List: รายการสินค้า
- 4. Certificate of Origin: ใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า
วิธีการคำนวณน้ำหนัก สินค้าทางเรือ
ขนส่งสินค้าโดยระบบตู้คอนเทนเนอร์
- FCL คิดค่าระวางตามจำนวนตู้
- LCL คิดค่าระวางตามลูกบาศก์เมตร(CMB)
- น้ำหนักปริมาตร (Weight Ton)
กว้าง x ยาว x สูง (ซ.ม.)
1,000,000
อย่างไรก็ตาม ควรพิจารณาข้อเสียและปัจจัยที่อาจส่งผลต่อการขนส่ง
เพื่อให้สามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่เหมาะสมกับความต้องการและเป้าหมายทางธุรกิจ
Sea Freight
ค่าบริการเริ่มต้น | 4,000 บาท |
ค่าบริการ Shipping Handling | 4,000 – ตู้ต่อไป 1,500 บาท |
ค่าลงทะเบียนผู้นำเข้า | 3,000 บาท |
ค่าลงทะเบียนหน่วยงานเกษตร/อ.ย. อื่น ๆ | หน่วยงานละ 3,000 บาท |
ค่าลงทะเบียนหน่วยงานอื่น ๆ | หน่วยงานละ 3,000 บาท |
ค่าหัวลาก | 10,000 – 15,000 บาท (ขึ้นอยู่กับระยะทาง) |
บริษัท อัพไรท์ โลจิสติคส์ จำกัด
เราให้บริการด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์และมีคุณภาพ จึงสามารถให้บริการลูกค้าได้ตามความต้องการที่เหมาะสม ภายใต้มาตรฐานตัวแทนส่งออก ที่เป็นไปตามประกาศกรมศุลกากร เราช่วยจัดการทุกขั้นตอนของการนำเข้า-ส่งออกสินค้า และมั่นใจได้ว่าสินค้าผ่านพิธีการศุลกากรอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
เราให้บริการด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์และมีคุณภาพ จึงสามารถให้บริการลูกค้าได้ตาม
ความต้องการที่เหมาะสม ภายใต้มาตรฐานตัวแทนส่งออก ที่เป็นไปตามประกาศกรมศุลกากร
เราช่วยจัดการทุกขั้นตอนของการนำเข้า-ส่งออกสินค้า และมั่นใจได้ว่าสินค้าผ่านพิธีการ
ศุลกากรอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
FAQ
คือ การจัดการและจัดส่งสินค้า รวมไปถึงการวางแผนที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถจัดเก็บและขนส่งสินค้าไปยังลูกค้าปลายทางโลจิสติกส์ครอบคลุมตั้งแต่การจัดซื้อ การจัดการสินค้าคงคลัง การกระจายคลังสินค้าการขนส่งและการจัดการความเสี่ยง
ห่วงโซ่อุปทาน = ภาพรวม เครือข่ายทั้งหมดของ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาและจัดการวัตถุดิบ การแปลง วัตถุดิบเหล่านั้นให้เป็นสินค้าสําเร็จรูปและการกระจายสินค้าสําเร็จรูปเหล่านั้น ห่วงโซ่อุปทานมักเป็นสิ่งที่ธุรกิจ ของคุณควบคุมได้เพียงเเค่เล็กน้อยเท่านั้น
โลจิสติกส์ = ส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานที่ธุรกิจของคุณ สามารถควบคุมโดยตรง โลจิสติกส์เกี่ยวกับระบบการจัดส่งสินค้า ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ การจัดการบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การจัดการสินค้าคงคลังและการจัดเก็บสินค้า
- การขนส่งทางบก
- การขนส่งทางทะเล
- การขนส่งทางอากาศ
- เรือสินค้าประเภท กอง (Bulk Carrier)
- เรือสินค้าประเภท หีบห่อ (Break-Bulk Vessels)
- เรือสินค้าบรรจุตู้ (Container Vessels)
- เรือสินค้า RO-RO ใช้ระบบลากแคร่บรรจุสินค้า
- รักษาผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้า
- สามารถเช็คสถานะสินค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง
- มีผู้ให้บริการให้คำปรึกษาหรือให้ข้อมูลแก่ลูกค้าได้ทันท่วงที
- เรียกเก็บค่าใช้จ่ายหรือค่าบริการตามจริง / ต้องไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายหรือค่าบริการเพิ่มเติม
- ดูแลรักษาสินค้าเป็นอย่างดี ไม่ให้เกิดการชำรุด